‘โฆษณารถเมล์’ สิ่งกวนใจคนโหน มรดกยุค 60 ที่หันมาใช้เทคโนโลยีเดียวกับ ‘ผ้าม่านบังแสง’
คุณเป็นคนหนึ่งที่เคยรำคาญ ‘สติกเกอร์ปรุๆ’ บนกระจกรถเมล์ใช่หรือไม่? คุณเคยเป็นผู้ประสบภัยมองข้างทางไม่เห็นเพราะโฆษณาบ้างหรือเปล่า? บทความตอนนี้จะเล่าเรื่อง ‘โฆษณารถเมล์’ ผ่านมุมมองของผู้หลงรักสิ่งนี้ แต่เดี๋ยวก่อน! อย่าเพิ่งปิดหน้าต่างหนี…ผมอยากชวนคุณเปิดประตูดูที่มาและที่ไปการเดินทางของโฆษณาบนรถเมล์ไทย และเราจะอยู่ร่วมกันได้ยังไงหากรถเมล์ขาดโฆษณาไม่ได้ ‘รถเมล์’ กับ ‘โฆษณา’ เป็นสิ่งที่อยู่คู่กันมายาวนาน… ในกรุงเทพฯ ภาพถ่ายรถเมล์ที่ติดป้ายโฆษณา ‘ยาหอมตรา 5 เจดีย์’ ไว้ข้างท้าย…
‘ป้ายบิลบอร์ด’ จากสิ่งโปรโมตคณะละครสัตว์ ไปเป็นการ์ดอวยพรวันเกิดศิลปิน
คำว่า ‘ให้เช่าพื้นที่โฆษณา’ แผ่หลาไปทั่วทุกอณูของกรุงเทพฯ ตั้งแต่ใบปลิวเล็กๆ ป้ายตามสถานีรถไฟฟ้า ไปจนถึงบิลบอร์ดริมมอเตอร์เวย์ เพื่อเชิญชวนให้เหล่าผู้ประกอบการใช้โปรโมตธุรกิจของตัวเอง หรือในปัจจุบันก็เห็นเหล่าแฟนคลับใช้พื้นที่โฆษณาเป็นการ์ดอวยพรวันเกิดศิลปิน หรือดาราที่ชื่นชอบ แต่หารู้ไม่ว่าต้นกำเนิดของป้ายโฆษณาถูกใช้ในแวดวงของ ‘คณะละครสัตว์’ มาก่อน
ทางรอดของบิลบอร์ด! สื่อนอกบ้าน “OOH” วันนี้ต้องอิงกับดิจิทัล
ในโลกที่ทุกแบรนด์ที่แข่งกันแทบตายเพื่อดึงดูดสายตาคนดูให้อยู่หมัด แต่ “โรอี้ ฟรองโก” รองประธานฝ่ายนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ของบริษัทสื่อ Xaxis ในเครือ WPP มั่นใจว่านักการตลาดกำลังมีโอกาสใหม่ในการเข้าถึงผู้บริโภค เพราะวันนี้ชาวโลกกำลังเดินทางออกนอกบ้านมากขึ้นต่อเนื่อง มากกว่าช่วงเดือนเมษายนที่รัฐบาลหลายประเทศจำกัดการเดินทางและระงับการให้บริการของธุรกิจมากมายทั่วประเทศ